วันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555

fête de la chandeleur



La fête romaine de la chandeleur

Le mot chandeleur trouve son origine étymologique dans le mot chandelle. Au cours des Parentalia romaines, ces derniers rendaient hommage à leurs morts et la tradition voulait qu'ils les veillent à la lueur d'une chandelle (cierge, torche).

Les celtes et la symbolique de la crêpe

Les celtes ont aussi donné une symbolique à la crêpe. De par sa forme ronde, et sa couleur jaune tachetée de marron, elle représentait pour eux le disque solaire. Au cours de cérémonie, les celtes faisaient don de crêpes à leurs divinités pour les remercier de leur bien vaillance sur la culture du blé. Ce geste marque l'arrivée de la crêpe en tant qu'offrande aux dieux protecteurs.
champ de blé pour la farine

Les Chrétiens et la chandeleur

La fête de la chandeleur évoque pour les Chrétiens les relevailles de Marie. Au cour de cette cérémonie, Marie présenta pour la première fois Jésus au temple, 40 jours après sa naissance. Les crêpes et les chandelles faisaient partie de ce rituel.

 Le Mardi gras 

De nos jours, la chandeleur est synonyme d'ouverture du carnaval. On y déguste des crêpes et la tradition veut que l'on conserve la première crêpe tournée. Cette crêpe protègera l'année à venir des coups du mauvais sort et de la misère. Autrefois, on glissait dans la crêpe un louis d'or afin de s'assurer richesse et prospérité.
D'un point de vue religion chrétienne, le carnaval représente la période qui précède le carême (entre le jour des Rois et le Mercredi des Cendres). Il faut toutefois noter que les festivités associées au carnaval ne sont pas officielement reconnues par l'église chrétienne. Le carême étant synonyme de privation, le Mardi-gras permettait aux gens de finir les restes de choses "grasses" avant d'entamer leur période de privation. Les oeufs faisant partie de ces aliments interdits, on s'empressait de les consommer le jour de Mardi-gras et quoi de plus agréable que des crêpes pour débarrasser son garde manger des oeufs, du beurre, de la confiture et du sucre. A noter que le mot carnaval tire son origine du latin "carnelevare" et dont la traduction est "retirer la viande". En effet, il était interdit de consommer de la viande pendant les 40 jours de carême.

 Le carnaval 

Au fil du temps, chansons, danses, masques et costumes sont venues égayer ce mardi gras et donner au carnaval ses lettres de noblesse. Chaque région de France prépare cette fête différement et les chars de carnaval deviennent le reflet des vielles histoires et traditions populaires.
crêpe avec boule de glace chocolat vanille et chantilly
Maintenant que vous en savez un peu plus sur le carnaval, la chandeleur et Mardi gras, il ne vous reste plus qu'à préparer votre recette de pâte à crêpes. N'oubliez pas de consulter notre rubrique "Trucs et Astuces" pour vous éviter de faire des crêpes collantes ou des crêpes trop sèches !

 

 
แม้ว่าฝรั่งเศสจะเป็นรัฐฆราวาส แต่วันสำคัญต่าง ๆ กลับเกี่ยวข้องกับศาสนาเป็นส่วนใหญ่ อาจด้วยเหตุบังเอิญว่าวันต่าง ๆ เหล่านี้ส่วนใหญ่ตรงกับวันอาทิตย์ซึ่งถือว่าเป็นวันศักดิ์สิทธิ์
ทางศาสนาคริสต์

วันขึ้นปีใหม่ (Jour de l’an) 1 มกราคม วันนักขัตฤกษ์ ตรงกับวันแรก
ของปีตามตารางปฎิทินสากล ในประเทศฝรั่งเศสวันขึ้นปีใหม่
10 มกราคมนี้เริ่มกำหนดใช้ในปี ค.ศ. 1564 และ วันที่ 31 ธันวาคมถือว่าเป็นการฉลองคืนส่งท้าย
ปีเก่าเพื่อต้อนรับขึ้นวันปีใหม่ด้วย ในวันขึ้นปีใหม่นี้ ถือเป็นโอกาสที่จะให้ของขวัญ (เงิน) กับเด็ก ๆ

เอพิพานี (Epiphanie) เทศกาลของชาวคริสเตียน ในโบสถ์ละติน เป็นการฉลองการมาเยี่ยม
พระเยซูของ Rois mages โดยธรรมเนียม มีการทานขนมหวาน เค้ก (รูปทรงมงกุฎในทางตอนใต้)
หรือ กาแลตดูครัว (ทางเหนือของฝรั่งเศส) จัดขึ้นในวันอาทิตย์แรกของเดือนมกราคม

ชองเดอเลอ (Chandeleur) 2 กุมภาพันธุ์ วันทางศาสนาของชาวคริสเตียน แรกเริ่มมาจาก
เทศกาลแสงไฟ ในปี ค.ศ. 472 เทศกาลนี้ได้กลายเป็นการเฉลิมฉลองการเป็นตัวแทนของ
พระเยซูภายในโบสถ์ตามธรรมเนียมมีการทำขนมเครป แล้วโยนขึ้นกลับด้านโดยกำเงินไว้ในมือ
อีกข้างเพื่อถือเป็นการนำโชคดีมาสู่ตัวผู้โยน

มาร์ดี-กรา (Mardi-gras) เทศกาลของชาวคาทอลิก เมื่อวันสิ้นสุด 7 วันหลังเทศกาลงานรื่นเริง (ซึ่งผ่านมื้ออาหารกันมาตลอดสัปดาห์) วันนี้กำหนดขึ้น 47 วันก่อนเทศกาลอีสเตอร์ และเป็นการ
เริ่มต้นของกาเรม (เทศกาลถือศีลอด) สัญลักษณ์ของเทศกาลนี้คืองานกานาวาล (ซึ่งมีความหมายถึงการเอาเนิ้อออก หรือการเริ่มต้นการถือศีล) ตามธรรมเนียมต้องการให้ชาวบ้านแต่งตัวหลากหลายในวันนั้น (ในทุกวันนี้กลายเป็นเด็ก ๆ ) ในบางหมู่บ้านมีการเผาตุ๊กตากานาวาลในวันงานด้วย

Mercredi des Cendres เทศกาลของชาวคาทอลิก เป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นเทศกาลถือศีลอด เป็นสัญลักษณ์ให้เตือนถึงการตาย

อาทิตย์แรกของเทศกาลศีลอด (1er dimanche de Carême) ไม่มีกิจกรรมใด ๆ พิเศษ

พฤหัสบดีกลางเทศกาลศีลอด (Jeudi de la Mi-cerême) เป็นสัญลักษณ์ครึ่งนึงของช่วง
เทศกาลถือศีลอดที่มี 40 วัน(โดยไม่นับวันอาทิตย์) ตรงกับวันพฤหัสบดีของอาทิตย์ที่ 3 ของตลอดระยะเวลาเทศกาลถือศีล เป็นการพักของช่วงการถือศีล ในปัจจุบันนี้ไม่ค่อยฉลองกันนัก

Dimanche des Rameaux รำลึกการเดินทางถึงนครเยรูซาเลมของพระเยซู และความรักของ
พระเยซุคริสต์และการเสียชีวิตบนไม้กางเขน

วันอาทิตย์อีสเตอร์ (Dimanche de Pâques) 3 วันหลังจากวันสิ้นชีพของพระเยซุ พระเยซูได้
ฟิ้นคืนชีพ เทศกาลอีสเตอร์เป็นวันสำคัญที่สุดของปฎิทินชาวคริสต์ เป็นสัญลักษณ์ของวันสิ้นสุด
ของเทศกาลถือศีลอด วันอีสเตอร์สอดคล้องกับวันอาทิตย์แรกต่อจากวันพระจันทร์เต็มดวง
ในฤดูใบไม้ผลิ ชาวคริสต์ต้องหยุดงานเพือ่ไปสวดมิซซา ในวันนี้พระสันตปะปาจะประทานพรในฝรั่งเศสตามธรรมเนียมทำการมอบไข่ (ชอกโกแลต) หรือของประดับธรรมเนียมอิ่น ๆเกี่ยวกับอาหาร
: ทานแกะ

วันจันทร์อีสเตอร์ (Lundi de Pâque) ในยุคกลางตลอดสัปดาห์หลังเทศการอีสเตอร์เป็นสัปดาห์นักขัตฤกษ์ ในปัจจุบันเหลือลงเพียงวันจันทร์ และไม่ใช่งานฉลองที่เคยทำอย่างสม่ำเสมอ ในกรณีของฝรั่งเศสไม่มีการฉลองเป็นพิเศษ

วันนำสาร (Annonciation) 25 มีนาคม ตามศาสนาคริสต์ เทวดากาเบรียล นำสารมาบอก
มารีถึงการตั้งครรภ์พระเยซู 9 เดือนก่อนวันคริสต์มาสถือได้ว่าเป็นวันจุติของพระเยซู

วันรำลึกการถูกคุมตัว(Souvenir déportés) เป็นวันระลึกถึง 150000 ฝรั่งเศสที่ถูกนำตัวไป
เข้าค่ายกักกันของนาซี ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 วันรำลึกนี้จัดอยู่ในอาทิตย์สุดท้ายของเดือนเมษายนวันรำลึกนี้จัดอยู่ในอาทิตย์สุดท้ายของเดือนเมษายน

วันแรงงาน ( Fête du travail) 1 พฤาภาคม เป็นธรรมเนียมของผู้ใช้แรงงานในการต่อสู้ที่มีอยู่ทั่วโลก ในประเทศส่วนใหญ่จัดเป็นวันหยุดประจำปี ประเทศฝรั่งเศสเริ่มต้นในปี 1919 และในปี 1947 เป็นวันหยุดเต็มวันโดยได้รับค่าแรงด้วย ในวันนี้สหภาพแรงงานต่าง ๆ จะเดินขบวนกันตามเมือง
ต่าง ๆ ของประเทศ และมีการมอบช่อดอกมูเก้ด้วย

วันกลับคืนสู่สวรรค์ (Jeudi de l’Ascension) เป็นการฉลอง 39 วันหลังจากเทศกาลอีสเตอร์
หลังจากลงมาเผยแพร่คำสอน พระเยซุก็ได้เสด็จกลับขึ้นสวรรค์์

วันฉลองชัยชนะ (Victoire 1945) ชัยชนะทีมีต่อเยอรมันในยุคการครอบครองโดยทหารนาซี
สันติภาพได้กลับคืนสู่ทวีปยุโรป โดยสัญญาสงบศึกที่ทำขึ้นในวันที 8 พฤษภาคม 1945 เวลา
ประมาณเที่ยงคืน โดยมีนายพลโซเวียต Jpukov ฝ่ายนาซี Keitel ผู้แทนจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และนายพล de Lattre ของฝรั่งเศส เป็นวันนักขัตฤกษ์ตั้งแต่ปี 1953 แต่ได้ถูกยกเลิกไปในสมัย V.Giscard d’Estaing และได้กลับมากำหนดใหม่ในยุคของ F.Mitterrand 1 มิถุนายน 1981

วันอาทิตย์ปงโตโค๊ต (Dimanche de Pentecôte) เป็นวันเทศกาลของชาวคริสต์ กำหนดขึ้น
7 อาทิตย์หลังเทศกาลอีสเตอร์ เพื่อรำลึกถึงวิญญาณศักด์สิทธิ์ที่ลงมาจาก...

ทรินิเต้ (Trinité) วันเทศกาลของชาวคริสต์ อาทิตย์ที่ 8 หลังจากเทศกาลอีสเตอร์ ปัจจุบันไม่ค่อยมีการเฉลิมฉลองมากนัก ในศาสนาคริสต์ ทรินิเต้เป็นการกล่าวถึงพระเจ้าใน 3 บุคคล พระบิดา บุตร และพระจิต

วันพระเจ้า (Fête Dieu) ฉลองในวันพฤหัสบดีถัดจากวันทรินิเต้ (หรืออาจวันอาทิตย์ขึ้นอยู่กับ
ทางปฎิบัติ) ฉลองถึงความเสียสละของพระคริสต์ โดยมีการแบ่งขนมปัง

วันแม่ (Fête des mères)กำหนดเป็นทางการในปี 1928 กำหนดไว้ในวันอาทิตย์สุดท้ายของ
เดือนพฤษภาคม (หรือกรณีพิเศษเลื่อ่นไปในเดือนมิถุนายนหากชนกับปงโดโค๊ต) ในปัจจุบัน
กลายเป็นการค้าและเป็นวันที่ชื่นชอบของเด็ก ๆ

วันพ่อ (Fête des pères) เช่นเดียวกับวันแม่ แต่มีกำหนดขึ้นเป็นทางการในปี 1952

วันชาติ (Fête Nationale) รำลึกถึงวันแห่งการปฎิวัติของฝรั่งเศส 1789 โดยเฉพาะการทำลาย
คุกบาสตีล ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1978 คุกบาสตีลเป็นคุกสำคัญของปารีส และเป็นสัญลักษณ์
ของอำนาจกษัตริย์ ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 ชาวกรุงปารีสได้ทำการเผาและเข้ายึดคุก
การเข้ายึดคุกบาสตีลนี้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการก่อตั้งสาธารณรัฐฝรั่งเศส

วันอัสสัมซิยง (Assomption) 15 สิงหาคม วันทางศาสนาของชาวคาทอลิกที่ทำการฉลองใน
การที่พระแม่มารีขึ้นสู่สรวงสวรรค์ เป็นวันสำคัญกลางฤดูร้อนมีการ........

Croix glorieuse 14 กันยายน กำหนดโดยจักรพรรคดิ์กองสตองแตง ในปี ค.ศ. 335 ในปัจจุบันมีการฉลองในวันนี้ไม่มากนัก

ตุสแซง (Toussaint) 1 พฤศจิกายน วันทางศาสนาของชาวคาทอลิก ในการเฉลิมฉลองให้กับทุกนักบุญโดยโบสถ์โรมัน ในวันนี้ได้กลายเป็นวันเยี่ยมหลุมฝังศพ เพือ่วางดอกไม้กับผู้เสียชีวิตไปแล้ว และดอกคริสซองแตม

เดฟัน (Défunts) 2 พฤศจิกายน ในฝรั่งเศสรวมกันกับวันหยุดตุสแซง

วันสิ้นสุดสงคราวโลกครั้งที่ 1 (Armistice 1918) 11 พฤศจิกายน 1918 รำลึกถึงการสิ้นสุด
สงครามโลกครั้งที่ 1 โดยมีการเซ็นสัญญายุติสงครามมที่ Rethondes ป่า Compiège (Oise)

Christ Roi วันทางศาสนาของชาวคาทอลิกอาทิตย์สุดท้ายของปี 5 อาทิตย์ก่อนคริสต์มาส Avent ช่วงเวลาหลังจากคริสต์มาส ระหว่าง 3-4 สัปดาห์

คริสต์มาส (Noël) เป็นเทศกาลการเกิดของพระเยซูคริสต์ มีการกำหนดขึ้นในปี ค.ศ. 354
โดยสันตปะปา Libère มีการประดับตกแต่งในวันที่ 24 ธันวาคมตอนเย็น ด้วยต้นสน คอกเด็ก
ของขวัญ และทานอาหรระหว่างครอบครัว เทศกาลนี้ยังกลายเป็นสัญสักษณ์การทำค้าขาย
อย่างมหาศาล

วันครอบครัว (Saint famille) ต่อจากคริสต์มาส (อาทิตย์หรือศุกร์ถัดไปหากวันคริสต์มาส
ตรงกับวันอาทิตย์)เป็นการสร้างครอบครัวโดยเยซูและมีบุพการีคือ มารีและโยเซพ

วันศุกร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2555

L'Épiphanie (La fete des rois)


วัน L'Epiphanie หรือ La fete des rois
วันนี้ตั้งขึ้นเพื่อระลึกถึงวันที่นักปราชญ์ 3 คน เดินทางติดตามดวงดาวนำทาง มาจนถึงคอกสัตว์ ณ เมืองเบ็ธเลเฮม ซึ่งเป็นสถานที่กำเนิดของพระกุมารเยซู และได้มอบของขวัญ 3 อย่างให้ คือ ทองคำ กำยาน และมดยอบ ให้แก่พระกุมารที่นอนอยู่ในรางหญ้า
(ของแต่ละชิ้นมีความหมายต่างๆ คือ กำยานหมายถึง การเป็นพระเจ้า  ทองคำ หมายถึง การเป็นกษัตริย์   และมดยอบหมายถึง การเป็นมนุษย์)







สำหรับในประเทศฝรั่งเศสแล้ว ในวันนี้คนฝรั่งเศสจะกินขนมที่ชื่อว่า La Galette des rois กัน และในขนม galette นี้ จะมีถั่ว หรือตัวตุ๊กตาเล็กๆอยู่ 1 ชิ้น ซึ่งเรียกว่า la fève
  

Épiphanie วันที่กษัตรย์ต่างๆมาชื่นชมพระเยซู

L'Épiphanie est une fête chrétienne qui célèbre la présentation de Jésus aux trois Rois mages. Elle a lieu le 6 janvier (ou le premier dimanche après le 1er janvier, comme le mentionnent tous les calendriers publiés en France) . Épiphanie est un mot d'origine grecque, Ἐπιφάνεια Epiphaneia qui signifie « manifestation » ou « apparition » (du verbe φάινω phainô, « se manifester, apparaître, être évident » ). La fête a des sens différents selon les confessions.

The Rue de Siam ( ถนนสยาม )

    
       ถนนสยาม (ฝรั่งเศส: Rue de Siam) คือ ถนนที่สร้างเป็นอนุสรณ์ เนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงส่งคณะทูตไทย ในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2229 ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ที่พระราชวังแวร์ซายส์


ถนนตั้งอยู่ที่เมืองแบร็สต์ แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส



      The Rue de Siam (or Siam Street) is the main arterial street of Brest. Its name comes from the arrival of three ambassadors led by Kosa Pan, sent by the King of Siam on the 29th of June 1686 to meet Louis XIV in Versailles. They went with six mandarins, three translators, two secretaries and a retinue of servants, loaded with presents. They traveled on the boats l'Oiseau and La Maligne.


They crossed Saint-Pierre Street to go to the hostel of the same name. The inhabitants were so amazed that they renamed the street. The street was quite narrow before World War II.  The Rue de Siam is quoted by Jacques Prévert in his poem Barbara.

      LocationFrom the Place de la Liberté, in the centre of Brest, the Rue de Siam runs southwest to the Recouvrance Bridge, spanning the river Penfeld. Recouvrance is a working-class district, from old Brest, in contrast to the Rue de Siam where there were all the chic stores and cafés of Brest, in the years 1950-60.

There used to be l’Épée Café on the right and Les Antilles Restaurant on the left. Midshipmen and officers from all nationalities used to have an aperitif at l’Épée and then, cross the Rue de Siam to have supper at Les Antilles.
See alsoFrance-Thailand relations

 ReferencesThis article incorporates information from this version of the equivalent article on the French Wikipedia.

External links
Wikimedia Commons has media related to: Streets of Brest

Rue de Siam in 1900

panoramic view of the Rue de Siam

"Nero burning rom"

"ที่มาของชื่อโปรแกรม Nero Burning Rom"

  


       ที่มาของชื่อโปรแกรมนี้นั้น...มาจากจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน
นามว่า " Nero Claudius Caesar Drusus Germanicus"
(นามเต็มนะนั่น!)

สมเด็จพระจักรพรรดิเนโร หรือคนไทยรู้จักดี ในนาม เนโรจอมโหด เป็นจักรพรรดิรัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จูลิโอ-คลอเดียน แห่งจักรวรรดิโรมัน
พระองค์ประสูติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 37 ที่เมืองแอนเธียม แห่งจักรวรรดิโรมัน
บิดาชื่อ งาเออุส โดมิทิอุส อาเฮโนบาร์บุส (Gnaeus Domitius Ahenobarbus)
มารดาชื่อ อกริบปิน่า ซึ่งมีศักดิ์เป็นถึงน้องสาวของจักรพรรดิคาลิกูลา (Caligula) จักรพรรดิรัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จูลิโอ-คลอเดียน
เนโรมีชื่อเต็มตอนเกิดว่า ลูเซียส คลอดิอุส เนโร


         เมื่อค.ศ. 64 วันที่ 18 กรกฎาคม
ตอนกลางคืน เกิดไฟไหม้ขึ้นที่ร้านขายวัตถุไวไฟแห่งหนึ่งในกรุงโรม
ประกอบกับการที่ถนนกรุงโรมในช่วงนั้นแคบ
ทำให้ไฟจากร้านค้าวัตถุไวไฟนั้น ลุกลามไปยังบ้านเรือนหลังอื่นๆอย่างรวดเร็ว
และไม่นานนัก ไฟก็ไหม้ทั่วเมือง
นีโรรู้ข่าวก็รีบมาดูเปลวเพลิงที่หอคอยมิเซนุส (Maecenas)
แล้วก็บอกว่าเปลวเพลิงนั้นช่างสวยงาม นั่งมองไฟผลาญกรุงโรมอย่างสบายอารมณ์
พร้อมทั้งนำเครื่องดนตรีมาบรรเลงอย่างสุนทรีย์โดยไม่ส่งทหารไปช่วยดับไฟ

กระแสความนิยมของเนโรตกต่ำลงทุกที
วันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 64 เปลวเพลิงที่ผลาญกรุงโรมมาตลอด 6 วัน 6 คืนดับลงในวันที่ 7
เผาบ้านเผาเรือนไป 132 หลัง ใน 4 หมู่บ้าน
เนโรสั่งให้เวนคืนที่ดินจำนวนหนึ่งมาสร้างพระราชวังทองคำ (Golden Palace)
ประกอบกับการที่เนโรไม่ส่งทหารไปช่วยดับไฟ
และในอดีตพระองค์เคยคิดจะเปลี่ยนชื่อกรุงโรมเสียใหม่ว่า กรุงเนโรโพลิส (Neropolis)
ประชาชนจึงปักใจเชื่อว่าเนโรเป็นผู้เผากรุงโรม
(นักประวัติศาสตร์ในปัจจุบันเองก็บอกว่ามีความเป็นไปได้ที่เนโรจะเป็นผู้เผากรุงโรม)

เนโรจึงสุ่มสี่สุ่มห้าบอกไปว่าผู้ที่นับถือลัทธิคริสเตียน
(ศาสนาคริสต์เมื่อเกือบสองพันปีก่อนในจักรวรรดิโรมันเป็นเพียงแต่ลัทธิเล็กๆ มิใช่ศาสนาอันยิ่งใหญ่เหมือนปัจจุบัน)
เป็นกลุ่มคิดกบฎและพยายามเผาโรม
จึงเกิดเป็นการประหารหมู่ชาวคริสเตียนในโรมันด้วยข้อหาเผาโรม
ประหารโดยวิธีให้อดอาหารสัตว์ป่าในโคลอสเซียมจนหิวโซ
และนำชาวคริสเตียนไปปล่อยที่สนามโคลอสเซียม
และปล่อยสัตว์ป่าให้มารุมฉีกทึ้งชาวคริสเตียนต่อหน้าผู้ชม
นอกจากนี้ยังเก็บภาษีอย่างหนักเพื่อมาซ่อมแซมบ้านเมืองและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจที่ล่มจมของโรม
ทำให้ประชาชนคลางแคลงใจในเนโร จนเกิดเป็นคำติดปากประชาชนชาวโรมว่า


 
"เนโรเผาโรม"
(Nero Burning Rome)

ซึ่งในปัจจุบัน วลีอายุกว่า 2,000 ปีนี้ ได้ถูกใช้เป็นชื่อโปรแกรมซอฟต์แวร์เขียนแผ่นซีดี/ดีวีดี